ปลาทูไทย-หน้างอคอหัก ของดีราคาถูก แต่ประโยชน์มากกว่าแซลมอน

ปลาทูเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่คนไทยนิยมมารับประทานกันเป็นอย่างมาก บอกเลยว่าปลาทูนั้นเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่งเพราะอยู่ในเมนูอาหารไทยอย่างหลักหลายและถูกนำมาปรุงอาหารกันอย่างมานานช้านานโดยในตลาดสดของประเทศไทยนั้นปลาทูก็จะมีขายทั้งแบบใส่เข่งและแบบสด เนื้อปลามีคุณค่าทางอาหารมากมายทั้งคืนค่าย่อมมีกรดไลโนเลอิกซึ่งเป็นตัวควบคุมระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือด

โดยในปัจจุบันนั้นคงจะเห็นได้ว่าอะไรก็จะเป็นปลาแซลมอนไปซะหมดจนใครหลายคนนึกถึงคุณค่าของปลาทูไทยไม่ออกทั้งๆที่มันอร่อยและราคาถูกเผื่อถูกกว่าแซลมอนในหลักหลายบาทอีกครั้งก็มีโอเมก้า 3 เยอะมากโดยเนื้อปลาทู 100 กรัมให้โอเมก้า 3 ประมาณ 2-3 กรัมเพียงพอต่อที่ร่างกายต้องการ

โดยเราเอาปลาทูราคาถูกที่มีคุณค่ามานึ่งมาทอดรับประทานกับน้ำพริกเลยทำเป็นเมนูได้อย่างหลากหลายซึ่งยังเต็มไปด้วยคุณค่ามากมายแต่มีเพียงแค่บางเมนูที่ทำลายโอเมก้า 3 ไปด้วยความร้อนสูงเช่นนั้นควรจะต้องเลือกกันใหม่ว่านำปลาทูมาทำเมนูอะไรเพื่อรักษาโอเมก้า 3 ให้ได้รับกันแบบเต็มๆ

สารอาหารในปลาทู

+วิตามินดี

ช่วยในเรื่องของการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสเพื่อไปซ่อมแซมกระดูกและฟันรักษาระบบประสาทและการทำงานของหัวใจ

+ไอโอดีน

เป็นส่วนประกอบอันสำคัญของฮอร์โมนทำการควบคุมการทำงานของร่างกายให้เจริญเติบโตอย่างปกติ

+กรดอมิโนโปรตีน

ช่วยในเรื่องของการเพิ่มความแข๋็งแรงทางกล้ามเนื้อ กระดูก เส้นเอ็น และข้อส่วน ซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของวัยเด็ก

+โอเมก้า 3

ซึ่งตัวนี้มีประโยชน์ต่อร่างกายเป็นอย่างมากทั้งช่วยในเรื่องของการต่อต้านป้องกันโรคอัลไซเมอร์ช่วยป้องกันการเกิดก้อนไขมันในสมองลดภาวะการอักเสบของร่างกายเพื่อเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้เพิ่มสมาธิความจำ และปรับสมดุล

โดยในคุณค่าทางโภชนาการของปลาทูนั้นสูงเป็นอย่างมากโดยมีข้อมูลจากกองโภชนาการและกรมอนามัยที่มีการแสดงคุณค่าทางโภชนาการของปลาทูต่อ 100 กรัมนั้นก็จะมีดังนี้ – พลังงาน 136 กิโลแคลอรี – โปรตีน 24.9 กรัม – ไขมัน 4.0 กรัม – แคลเซียม 163 มิลลิกรัม – ฟอสฟอรัส 640 มิลลิกรัม – เหล็ก 3.0 มิลลิกรัม – วิตามินบี 1 0.09 มิลลิกรัม – วิตามินบี 2 0.10 มิลลิกรัม – ไนอะซิน 6.1 มิลลิกรัม – ไอโอดีน 48 ไมโครกรัม – คอเลสเตอรอล 76 มิลลิกรัม – ไขมัน 6.20% – กรดไขมันอิ่มตัว (SAT) 1,695 มิลลิกรัม – กรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว (MUFA) 953 มิลลิกรัม – กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง (PUFA) 1,978 มิลลิกรัม – กรดโอเลอิก (18:1) 391 มิลลิกรัม – กรดไลโนเลอิก (18:2) 87 มิลลิกรัม – อีพีเอ (EPA) 636 มิลลิกรัม – DHA 778 มิลลิกรัม