Home »
Uncategories »
“ขี้เมาเฮ..ขับรถได้?” ทนายดัง โพสต์ช่องโหว่ทางกฏหมาย ”การเป่าแอลกอฮอล์”
“ขี้เมาเฮ..ขับรถได้?” ทนายดัง โพสต์ช่องโหว่ทางกฏหมาย ”การเป่าแอลกอฮอล์”
กลายเป็นประเด็นที่ถกเถียงในโลกออนไลน์กันพอสมควร เมื่อเพจ Pitbullzone ของ มาร์ค พิทบูล
ได้โพสต์เกี่ยวกับข้อกฎหมายการเป่าแටลกටฮටล์ ซึ่งเป็นข้อความที่ ดร.สุกิจ
พูนศรีเกษม หรือ ทนายสุกิจ
ได้โพสต์เกี่ยวกับช่องโหว่ของกฎหมายเรื่องนี้เอาไว้ ซึ่งระบุว่า
ขี้เມาได้เฮ!…ขับรถได้
กฏหมายให้สันนิษฐานว่า “เມา”แต่กฏหมายไม่ได้ บัญญัติถึงบทลงโทษว่า “หากฝ่าฝืนไม่เป่ามีบทลงโทษ”ฐานใด
“ตำรวจจึงไม่มีสิทธิ์ใช้เครื่องเป่าแටลกටฮටล์
เครื่องวัดลมหายใจตรวจหรือเป่าได้ ทั้งยังไม่มีกฏหมายรองรับ
ตำรวจก็ไม่เจ้าหน้าที่เทคนิคทางการแพทย์”
——-////———
หลายวันก่อนผมมีโอกาสไปดื่มกินกับเพื่อนที่เป็นอดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง
ผมเลยเตือนเพื่อนไปว่า “ดื่มมากๆ เดี๋ยวผ่านด่านตรจ
จะโดนจับเป่าแටลกටฮටล์” เพื่อนผมตอบสวนมาว่า
“มึงไม่รู้หรือไงว่า ไอ้เครื่องเป่าแටลกටฮටล์
มันมีคุณสมบัติเป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ คนที่จะใช้อุปกรณ์นี้ได้
ต้องเป็นเจ้าหน้าที่เทคนิคทางการแพทย์เท่านั้น
ที่สำคัญคือ มันต้องเป็นเครื่องของราชการ
ที่มีเลขครุภัณฑ์เท่านั้น
เครื่องที่ตำรวจซื้อมาใช้เองนั้นมันไม่มีอะไรรับรองมาตรฐาน
และตำรวจก็ไม่เจ้าหน้าที่เทคนิคทางการแพทย์
ลองไปเปิดอ่านกฎหมายดูแล้วจะรู้”
เพื่อคลายความสงสัยว่าไอ้สิงที่เพื่อนหมอผมพูดนั้น เป็นเรื่องจริงหรือไม่ เมื่อผมได้ค้นหาข้อมูลถึงกับอึ้งกิมกี๋กับประโยคที่ว่า
“….การที่เจ้าหน้าที่ตำรวจนำเครื่องเป่ามาใช้วัดกับคดีเມาไม่ขับนั้นยังไม่มีกฏหมายรองรับความเป็นมาตราฐานสากล….”
และที่อึ้งกิมกี่ยิ่งกว่า คือ
“…ตำรวจไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญการเป่าหรือทดสอบว่าผู้ขับขี้เມาหรือไม่
ทั้งตำรวจยังมิได้ผ่านทดสอบและอบรมจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และตำรวจ
ไม่เจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์
เครื่องย่อมมีค่าความผิดพลาดเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนดได้…”
เพื่อนหมอผมพูดจริง ตามนี้
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8809/2549 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522
แก้ไขโดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2557
โดยเพิ่มเติมในมาตรา 142 วรรคสี่โดยกำหนดข้อสันนิษฐานไว้ว่า
กรณีผู้ขับขี่เມาสุsาหรือของเມาอย่างอื่น
หากไม่ยอมให้ทดสอบโดยไม่มีเหตุอันควร
ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้ขับขี่ขณะเມาสุsานั้น
ผู้ขับขี่ปฏิเสธไม่เป่าได้
ไม่เป็นการฝ่าฝืนคำสั่งเจ้าพนักงานขณะปฎิบัติตามหน้าที่
การทดสอบเป็นไปตามหลักเกณท์ตามกฏกระทรวงฉบับที่
16(พ.ศ.2537)และกฏกระทรวงฉบับที่
21(พ.ศ.2560)ตามความพระราชบัญญัติจารจรทางบก พ.ศ.2522.
ชึ่งมีแนวคำพิพากษาศาลฎีกาได้วินิจฉัยไว้เป็นแนวทาง
ทั้งนี้ตำรวจไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญการเป๋าหรือทดสอบว่าผู้ขับขี่เມาหรือไม่
ทั้งตำรวจยังมิได้ผ่านทดสอบและอบรมจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และตำรวจ
ไม่เจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์
เครื่องย่อมมีค่าความผิดพลาดเกินเกณฑ์มาตรฐานกำหนดได้
ประกอบเครื่องที่ตำรวจใช้นั้นนั้น
สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้เปิดช่องประมูลกับเอกชนจำนวน 610
เครื่องๆราคาประมูลเครื่องละไม่เกิน 500บาท
การที่เจ้าหน้าที่ตำรวจนำเครื่องเป่ามาใช้วัดกับคดีเມาไม่ขับนั้นยังไม่มีกฏหมายรองรับความเป็นมาตราฐานสากล
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ยืนยันว่าเพื่อให้เครื่องสามารถตรวจวัดค่าปริมาณแටลกටฮටล์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีผลการวัดที่ถูกต้องแม่นยำ และใช้เป็นหลักฐานในการดำเนินคดี
ซึ่งเครื่องวัดแටลกටฮටล์ในเลืටดโดยวิธีเป่าลมหายใจควรต้องผ่านการสอบเทียบ
ตามรอบระยะเวลา 6 เดือน โดยที่จะมีสติกเกอร์ติดรับรองไว้ที่ตัวเครื่อง
ปัญหาด้านเครื่องมือตรวจวัดแටลกටฮටล์
เครื่องตรวจวัดแටลกටฮටล์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีจำนวนจำกัด
และเครื่องมือตรวจวัดบางเครื่องถูกใช้งานมากว่า 15
ปีส่งผลให้เกิดการชำรุดระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ได้
ผมไม่ได้มีเจตนาส่งเสริมให้ขี่เມาขับรถ หรือ สร้างความลำบากใจให้ตำรวจ
“….การกระทำของผู้รักษากฎหมายทุกการกระทำต้องมีกฎหมายรองรับ เมื่อไม่มีกฎหมายรองรับการกระทำนั้นก็ผิดกฎหมาย….”
ดร.สุกิจ พูนศรีเกษม
ที่มา เพจ Pitbullzone