หลังจากที่มีการค้นหากันอยู่หลายวันสำหรับเด็ก 13 คนที่หายไปในถ้ำหลวง
คาดว่าเข้าไปสำรวจในถ้ำแล้วฝนตก น้ำท่วม ทำให้ออกมาไม่ได้
ซึงมีเจ้าหน้าที่หลาย หน่วยงาน ที่เข้ามาช่วยภารกิจการค้นหา เชื่อว่าทั้ง
13 คนปลอดภัย แต่อาจจะต้องพบเจอกับหลายอย่างภายในถ้ำ
อย่างเช่นสัตว์ที่อาศัยภาพในถ้ำ จะมีอะไรกันบ้าง ลองไปชมกันเลยจ้า
ในทางวิชาการเรื่องสิ่งมีชีวิตในถ้ำ นั้น แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่
1.ทร็อกโลไบต์ (Troglobites)
เป็นสัตว์ที่จะอาศัยอยู่ในถ้ำตั้งแต่เกิดจนตาย ไม่สามารถดำรงชีวิตนอกถ้ำได้ มักอยู่ในส่วนลึกของถ้ำ หาอาหารภายในถ้ำ เช่น แมลง และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด เช่น จิ้งโกร่ง แมลงสองง่าม ฯลฯ
2.ทร็อกโลไฟล์ (Troglophiles)
เป็นสิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีวิตอยู่ได้ทั้งในถ้ำ และภายนอก เช่น สัตว์จำพวกแมลง จิ้งหรีด แมงมุม ซาลาแมนเดอร์(Salamanders) และ กิ้งกือ(millipedes) ฯลฯ
3.สัตว์ถ้ำชั่วคราว (Trogloxenes)
ปกติใช้ชีวิตอยู่นอกถ้ำ แต่มักมีพฤติกรรมเข้าๆ ออกๆ จากถ้ำบ่อยๆ เช่น ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน หมีนอกจากนี้ก็ยังมีสัตว์อื่นๆ เช่น มันมีขาที่ยาวมากและยาวกว่าความสูงของลำตัวเป็นสิบเท่าและพับได้ด้วย
แมงมุม
กุ้งถ้ำ ตัวเล็กๆ ใสๆ และปลาถ้ำที่อาจมักพบในแอ่งน้ำ
ยุงก้นปล่อง
เวลาเกาะหรือกำลังดูดเลือด ลำตัวจะทำมุมกับพื้นยึดเกาะ 45 องศา ยุงก้นปล่องเป็นยุงนำโรคไข้ป่า หรือโรคไข้มาเลเรีย อาศัยได้หลายที่ เช่น บ้าน ในป่า และภูเขา จึงพบมากในชนบทที่อยู่แถวชายป่า ชอบไข่ในน้ำไหลริน ในแอ่งน้ำสะอาด ยุงนี้ชอบกัดคนในเวลาพลบค่ำ ตอนดึก และเช้าตรู่
เหลือบ
เป็นแมลงดูดเลือด ที่กัดและสร้างความเจ็บปวดมาก มีลักษณะคล้ายแมลงวันที่มีขนาดใหญ่ บินเสียงดัง
ริ้น
พบในน้ำหรือบริเวณใกล้ๆ น้ำ
ในทางวิชาการเรื่องสิ่งมีชีวิตในถ้ำ นั้น แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่
1.ทร็อกโลไบต์ (Troglobites)
เป็นสัตว์ที่จะอาศัยอยู่ในถ้ำตั้งแต่เกิดจนตาย ไม่สามารถดำรงชีวิตนอกถ้ำได้ มักอยู่ในส่วนลึกของถ้ำ หาอาหารภายในถ้ำ เช่น แมลง และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด เช่น จิ้งโกร่ง แมลงสองง่าม ฯลฯ
2.ทร็อกโลไฟล์ (Troglophiles)
เป็นสิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีวิตอยู่ได้ทั้งในถ้ำ และภายนอก เช่น สัตว์จำพวกแมลง จิ้งหรีด แมงมุม ซาลาแมนเดอร์(Salamanders) และ กิ้งกือ(millipedes) ฯลฯ
3.สัตว์ถ้ำชั่วคราว (Trogloxenes)
ปกติใช้ชีวิตอยู่นอกถ้ำ แต่มักมีพฤติกรรมเข้าๆ ออกๆ จากถ้ำบ่อยๆ เช่น ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน หมีนอกจากนี้ก็ยังมีสัตว์อื่นๆ เช่น มันมีขาที่ยาวมากและยาวกว่าความสูงของลำตัวเป็นสิบเท่าและพับได้ด้วย
แมงมุม
กุ้งถ้ำ ตัวเล็กๆ ใสๆ และปลาถ้ำที่อาจมักพบในแอ่งน้ำ
ยุงก้นปล่อง
เวลาเกาะหรือกำลังดูดเลือด ลำตัวจะทำมุมกับพื้นยึดเกาะ 45 องศา ยุงก้นปล่องเป็นยุงนำโรคไข้ป่า หรือโรคไข้มาเลเรีย อาศัยได้หลายที่ เช่น บ้าน ในป่า และภูเขา จึงพบมากในชนบทที่อยู่แถวชายป่า ชอบไข่ในน้ำไหลริน ในแอ่งน้ำสะอาด ยุงนี้ชอบกัดคนในเวลาพลบค่ำ ตอนดึก และเช้าตรู่
เหลือบ
เป็นแมลงดูดเลือด ที่กัดและสร้างความเจ็บปวดมาก มีลักษณะคล้ายแมลงวันที่มีขนาดใหญ่ บินเสียงดัง
ริ้น
พบในน้ำหรือบริเวณใกล้ๆ น้ำ